นักวิจัยไทย ทำได้แล้ว

กลุ่มนักวิจัยของสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ได้ตั้งข้อสันนิษฐานว่า ไ วรั ส CV-19 จะอยู่กับสังคมเราไปเรื่อย ๆ ซึ่งอาจทำให้เราต้องฉี ดวั คซี นกระตุ้นภูมิคุ้มกันในทุก ๆ ปี เหมือนกันกับไ ข้หวัดใหญ่ จึงเป็นที่มาของการวิจัยและพัฒนาวั คซี นของประเทศไทย นำโดยศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) สวทช. ที่เป็นหัวหอกในการพัฒนาด้านนี้ มองว่า “วั คซี นนั้นช่วยกันตา ย แต่ไม่กันติ ด” เพราะ CV-19 เข้าสู่ร่างกายผ่านระบบทางเดินหายใจ และวั คซี นที่ฉี ดทางกล้ามเนื้อ จะไปกระตุ้นภูมิต้านทานหรือแอนติบอดี้ ชนิด ที-เซลล์ (T-cell) ในกระแสเลื อด หรือ อวัยวะต่าง ๆ และไม่ได้สร้างแอนติบอดี้ไปถึงบริเวณจมูกหรือทางเดินหายใจมากเพียงพอที่จะป้องกันไ วรั สเข้าสู่ร่างกายได้
นั่นจึงเป็นที่มาของ นวัตกรรมวั คซี นชนิดฉี ดพ่นจมูก ของทีม สวทช. จึงเกิดขึ้น และได้พัฒนาวั คซี นขึ้นมาถึง 2 ชนิดด้วยกัน
วั คซี น ตัวแรก คือ Adenovirus ที่มีการแสดงออกของโปรตีนสไปค์ (Spike) วั คซี นชนิดนี้มีโครงสร้างคล้ายคลึงกับวั คซี นที่ประเทศไทยใช้อยู่ คือ แอสตร้าเซเนก้า ที่เป็นวั คซี นชนิดใช้ไ วรั สเป็นพาหะ (Recombinant viral vector vaccine) แต่ของ สวทช. นี้จะออกแบบพัฒนาโดยให้เป็นชนิดพ่นเข้าจมูกผ่านละอองฝอย ซึ่งวั คซี นนี้ได้ทุนวิจัยจากสถาบันวั คซี นแห่งชาติ โดยผลทดสอบหลังนำเชื้ อ CV-19 ฉี ดในหนูทดลอง ที่ได้รับการพ่นวั คซี นแล้ว 2 เข็ม พบว่า หนูทดลองไม่มีอาการป่ว ย เซื่องซึม หรือ ตา ย ทั้งยังกินอาหารได้ปกติ และน้ำหนักไม่ลด
เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มที่ฉี ดวั คซี นเข้ากล้ามเนื้อ พบว่า หนูไม่มีอาการป่ว ย หรือ ตา ย เช่นกัน แต่มีน้ำหนักตัวลดลงอย่างมีนัยยะสำคัญ ขณะนี้ทีมวิจัยอยู่ระหว่างดูข้อมูลปริมาณไ วรั สที่อยู่ในปอ ดว่ามีมากน้อยเพียงใด เพื่อนำข้อมูลไปเสนอ อย. ขอนุมัติการทดสอบในมนุษย์ เฟส 1 และ เฟส 2 ต่อไป
หาก อย. อนุมัติได้เร็ว คาดว่าจะสามารถ เริ่มทดสอบในมนุษย์เฟสแรกปลายปีนี้ และต่อเนื่องเฟส 2 มีนาคมปีหน้า หากได้ผลดีจะผลิตใช้ได้ประมาณกลางปี 2565 ได้
ปัจจุบัน สวทช. ได้ประสาน ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ เพื่อร่วมมือจัดสรรทำการทดสอบในมนุษย์ พร้อมประสานบริษัทเอกชนอย่างบริษัท KinGen BioTech ที่มีกระบวนการผลิตที่ได้มาตรฐาน เพื่อนำวั คซี นไปใช้ทดสอบได้จริง คาดว่าจะมีข่าวดีภายในปีหน้า ส่วนผลงานวิจัยนี้กำลังเร่งรวบรวมส่งเข้าตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ
วั คซี น ตัวที่ 2 คือ Influenza-Virus based ที่มีการแสดงออกของโปรตีน RBD ของสไปค์ (Spike) โดยตัดแต่งไ วรั สไ ข้หวัดใหญ่ให้เชื้ ออ่อนลง แล้วเพิ่มสารพันธุกรรม RBD ซึ่งเป็นส่วนที่จะสร้างภูมิคุ้มกันต่อไ วรั สก่อโร ค CV-19 เข้าไป ดังนั้น ภูมิคุ้มกันในร่างกายจะสร้างขึ้นมา 2 แบบ คือ รู้จักกับ CV-19 และ ไ ข้หวัดใหญ่ เรียกได้ว่าเป็นวั คซี นแบบ 2 in 1 เพื่อฉี ดให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันทั้ง 2 โร ค ในเวลาเดียวกัน หลังทดสอบในหนูทดลอง พบว่า เมื่อนำเลื อดของหนูทดลองมาดู ในปอ ดมีแอนติบอดี้สูง ป้องกันการติ ดเชื้ อในปอ ดได้ดี
ล่าสุด ทีมนักไ วรั สวิทยา และ เซลล์เทคโนโลยี ของ สวทช. เปิดเผยว่า วั คซี นต้นแบบชนิด 2 in 1 สามารถสร้างภูมิคุ้มกันโร ค CV-19 และ ไ ข้หวัดใหญ่ได้ โดยผลการวิจัยเรื่องระดับภูมิคุ้มกันในหนูทดลองได้รับการตีพิมพ์ลงวารสารทางวิชาการแล้ว ขณะนี้กำลังต่อคิวทดสอบประสิทธิภาพการควบคุมโร ค CV-19 โดยร่วมมือกับ ทีมองค์การเภสัชกรรม และ มีแผนจะผลิตออกมาทดสอบเป็นตัวถัดมา
ในส่วนของการสร้างภูมิคุ้มกัน CV-19 กับวั คซี นตัวนี้ พัฒนาขึ้นจากสายพันธุ์ดั้งเดิมหรือสายพันธุ์อู่ฮั่นจึงมีผลยับยั้งได้ดีแค่ในเชื้ อสายพันธุ์ดังกล่าว และจะมีประสิทธิภาพลดลงไปตามสายพันธุ์กลายพันธุ์อื่น ๆ สอดคล้องกับงานวิจัยที่มีการเผยแพร่ต่าง ๆ มาก่อนหน้านี้ โดย สวทช. ระบุว่า ได้พยายามพัฒนาตัดต่อเชื้ อไ วรั ส CV-19 สายพันธุ์เดลต้าที่ร ะบา ดอย่างรุ นแ รงไปทั่วโลกในขณะนี้ อย่างไรก็ดี วั คซี นชนิด 2 in 1 นี้ สามารถทำการพัฒนาปรับเปลี่ยนไปตามสายพันธุ์ต่าง ๆ ได้
การพัฒนาวั คซี นทั้ง 2 ชนิดดังกล่าว นับว่าเป็นที่น่าสนใจอย่างยิ่ง เพราะจะถือเป็นตัวตั้งต้นในการต่อยอดงานวิจัยวั คซี น CV-19 ของไทยในอนาคตได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะเราอาจจะจำเป็นต้องมีวั คซี นไ ข้หวัดใหญ่ที่ฉี ดเพื่อกระตุ้นภูมิคุ้มกันอย่างที่เคยมีมาในทุกปี ที่มันสามารถสร้างภูมิคุ้มกันการติ ดเชื้ อ CV-19 เสริมลงไปได้อีกด้วย อีกทั้ง วั คซี นแบบ 2 in 1 นี้จะช่วยให้ลดขั้นตอนและประหยัดเวลาในการฉี ดวั คซี นมากขึ้น เนื่องจาก วั คซี นเป็นชนิดฉี ดโดสเดียวจบ ไม่ต้องกังวลเรื่องระยะการฉี ดระหว่างโดส แต่อาจจะต้องมีการฉี ดวั คซี นตัวดังกล่าว เพื่อให้ร่างกายกระตุ้นภูมิคุ้มกันเรื่อย ๆ ในทุกปี โดยจะทำเป็นวั คซี นที่พ่นละอองฝอยในโพรงจมูกไปสร้างแอนติบอดี้ในระบบทางเดินหายใจส่วนบน สร้างภูมิคุ้มกันได้เร็วและดีกว่าวั คซี นแบบฉี ดเข้ากล้ามเนื้อ และยังช่วยลดความเสี่ ยงของการเกิดผลข้างเคียงจากภาวะลิ่มเลื อดอุดตันอีกด้วย
วั คซี นแบบพ่นจมูกแตกต่างจากฉี ดเข้ากล้ามเนื้ออย่างไร?
การพัฒนาวั คซี น หรือ ย า แบบพ่นเข้าจมูกไม่ใช่เรื่องใหม่ ยกตัวอย่างวั คซี นไ ข้หวัดใหญ่ก็มีการใข้งานรูปแบบนี้ แต่ไม่แพร่หลายมากนัก การพ่นวั คซี นเข้าจมูก มีข้อดี คือ การให้วั คซี นทางจมูกสามารถกระตุ้นภูมิคุ้มกันที่ชั้นเมือก (mucosal immunity) ในทางเดินหายใจได้ ซึ่งที่ทางเดินหายใจตั้งแต่จมูกจนถึงปอดมีเซลล์ภูมิคุ้มกัน (immune cells) มากมาย การให้วั คซี นทางจมูกและสูดเข้าทางเดินหายใจ คาดกันว่าน่าจะกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันได้ดีทั้งการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันด้วยสารน้ำหรือแอนติบอดี้ (humoral immunity หรือ antibody-mediated immunity) และการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันชนิดพึ่งเซลล์ (cellular immunity หรือ cell-mediated immunity) ซึ่งอาศัยเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิดที-ลิมไฟไซต์ (T lymphocyte หรือ T cell), แมคโครฟาจ (macrophage) และสารไซโตไคน์ (cytokines) ชนิดต่าง ๆ จึงต่างจากการฉี ดเข้ากล้ามเนื้อซึ่งจะกระตุ้นการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันด้วยสารน้ำหรือแอนติบอดี้เกือบทั้งสิ้น
ด้วยเหตุนี้ จึงสันนิษฐานว่า วั คซี น CV-19 ชนิดให้ทางจมูกจึงน่าจะช่วยป้องกันการแ พร่กระจายของไ วรั สได้ดีกว่าการฉี ดเข้ากล้ามเนื้อ
แต่ก็มีข้อเสี ยอยู่เล็กน้อย คือ ด้วยเป็นวิธีการที่ค่อนข้างใหม่ วิธีการผลิตจึงใหม่ตามไปด้วย การผลิตออกมาเป็นจำนวนมากจึงต้องใช้เวลาพอสมควร ทำให้ในปัจจุบันการผลิตชนิดฉี ดวั คซี นเข้ากล้าม ได้ถูกนำมาใช้ก่อน เพราะว่า ผลิตได้ง่ายกว่า และเป็นที่รู้จักและยอมรับของหลาย ๆ องค์กร ทำให้มีความมั่นใจต่อประสิทธิภาพ ส่วนการพ่นเข้าจมูก เป็นวิธีที่ค่อนข้างใหม่เมื่อเทียบกับวั คซี นรูปแบบอื่น แต่จากผลทดสอบก็เห็นความแตกต่างไม่มาก โดย สวทช. ระบุว่า ในหนูทดลอง จะเห็นว่า หนูที่ได้รับวั คซี นเข้าจมูก สามารถป้องกันการติ ดเชื้ อ CV-19 ได้ดี ซึ่งส่วนนี้อาจจะเป็นข้อมูลที่มีประโยชน์มาก ๆ ในการนำมาปรับใช้กับ CV-19 สายพันธุ์เดลต้า ที่แพร่ในอากาศได้เร็วกว่าสายพันธุ์ดั้งเดิม กล่าวได้อย่างง่าย ๆ ว่า จะพัฒนาวั คซี นเพื่อต่อสู้กับเชื้ อไ วรั สด้วยวิธีการแบบเดียวกัน ในเมื่อเชื้ อไ วรั สแ พร่กระจายเข้าไปยังจมูกลงถึงปอ ด วั คซี นก็ควรจะพัฒนาไปในทิศทางแบบเดียวกันเสี ยเลย ซึ่งในตอนนี้ มีหลายประเทศเริ่มพัฒนาวั คซี น CV-19 แบบฉี ดพ่นเข้าจมูกและเริ่มทดลองในมนุษย์แล้ว ได้แก่ สหรัฐฯ, จีน, อินเดีย และ ฟินแลนด์ เป็นต้น
ดังนั้น นวัตกรรมนี้อาจนำมาใช้แทนการฉี ดวั คซี นเข้ากล้ามได้ในอนาคตก็เป็นไปได้ และก็เป็นอีกหนึ่งความหวังที่จะนำวั คซี นไทยที่กำลังพัฒนาอยู่มากมายในขณะนี้ ออกไปช่วยโลกด้วยเช่นกัน
อัพเดทแพลตฟอร์มวั คซี นไทยพัฒนา ขณะนี้มีอยู่ 6 แพลตฟอร์มที่จะเป็นที่รู้จัก ได้แก่
1. วั คซี น NDV-HXP-S ชนิดเชื้ อตา ย พัฒนาโดย ม.มหิดล ร่วมกับองค์การเภสัชกรรม และสถาบัน PATH สหรัฐอเมริกา
2. วั ค ซีน ChulaCov19 ชนิด mRNA พัฒนาโดยความร่วมมือระหว่างคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ฯ กับ มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย
3. วั คซี น Covigen ชนิด DNA พัฒนาโดย บริษัทไบโอเนท-เอเชีย จำกัด (BioNet-Asia)
4. วั คซี น Baiya SARS – CoV -2 Vax1 ชนิดโปรตีนซับยูนิตจากใบพืชตระกูลยาสูบ พัฒนาโดย บริษัทใบยาโฟโตฟาร์ม
5. วั คซี น ชนิด Adenovirus Viral Vector แบบฉี ดพ่นเข้าจมูก พัฒนาโดย สวทช. (ยังไม่ทราบชื่อเป็นทางการ)
6. วั คซี น ชนิด Influenza-Virus based แบบฉี ดพ่นเข้าจมูก พัฒนาโดย สวทช. (ยังไม่ทราบชื่อเป็นทางการ)