สมุนไพรไทย ยับยั้ง CV-19

ไบโอไทย เผย งานวิจัยล่าสุด ของ สหรัฐ สมุนไพรไทย โกฐจุฬาลัมพา มีความสามารถในการยับยั้ง CV-19 พร้อมทั้งเปิดเผยคำแนะนำต่าง ๆ ที่สำคัญ ที่ผู้ใช้ควรรับทราบ
เพจเฟซบุ๊ก BIOTHAI ได้ออกมาโพสต์ภาพและข้อความผ่านเฟซบุ๊กว่า “คณะนักวิจัย 7 คน นำโดย M S Nai จาก Columbia University และ University of Washington พบ โกฐจุฬาลัมพา สมุนไพรที่หมอพื้นบ้านไทย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเอเชียรู้จักดี สามารถต้านเชื้ อ CV-19 ได้ในห้องปฏิบัติการ
สารสกัดรวมของโกฐจุฬาลัมพา (โดยมีตัวอย่างหนึ่งเป็นใบแห้งมีอายุการเก็บมานานกว่า 10 ปี) มีประสิทธิภาพสูงในการยับยั้งเชื้ อ CV-19 ซึ่งรวมทั้งสายพันธ์แอฟริกา และอังกฤษ โดยนักวิจัยเชื่อว่าสารที่มีบทบาทสำคัญในการยับยั้งไ วรั สม ร ณ ะนี้นอกจากสาร artemisinin และองค์ประกอบแล้วน่าจะมาจาการทำงานของสารอื่น ๆ ใน โกฐจุฬาลัมพา ด้วย
โกฐจุฬาลัมพา มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Artemisia vulgaris L. จะจัดอยู่ในวงศ์ทานตะวัน (ASTERACEAE ) มีชื่อสามัญว่า Common wormwood
ในบัญชีย าจากสมุนไพรที่มีการใช้ตามองค์ความรู้เดิม ตามประกาศของคณะกรรมการแห่งชาติด้านย า (ฉบับที่ 5) มีปรากฏการใช้สมุนไพรโกฐจุฬาลัมพาในหลายตำรับ ได้แก่ ย ารักษากลุ่มอาการทางระบบไหลเวียนโลหิตหรือย าแก้ลม ซึ่งมีปรากฏในตำรับ “ย าหอมเทพจิตร” และตำรับ “ย าหอมนวโกฐ” ที่มีส่วนประกอบของโกฐจุฬาลัมพาอยู่ในพิกัดโกฐทั้งเก้าร่วมกับสมุนไพรชนิด อื่น ๆ อีกในตำรับ
โดยมีสรรพคุณเป็นยาแก้ลมวิงเวียน แก้อาการหน้ามืด ตาลาย ใจสั่น คลื่นเหียน อาเจียน และแก้ลมจุกแน่นในท้อง และในย าแก้ไข้ก็มีปรากฏในตำรับ “ย าจันทน์ลีลา” และตำรับ “ย าแก้ไข้ห้าราก” ที่มีส่วนประกอบของโกฐจุฬาลัมพาร่วมกับสมุนไพรชนิดอื่น ๆ อีกในตำรับ โดยมีสรรพคุณเป็นย าบรรเทาอาการไข้ตัวร้อน ไข้เปลี่ยนฤดู
ถ้าใครจำได้ เมื่อปีที่แล้ว นายแอนดรี ราโจเอลินา ประธานาธิบดี แห่ง มาดาร์กัสกา ได้ประกาศในประชาชนใช้โกฐจุฬาลัมพา แต่กลับถูกวิจารณ์โดยองค์การอนามัยโลก โดยอ้างว่า เป็นการรณรงค์ยังไม่ได้มีงานวิจัยใด ๆ รองรับ แต่เขายังเดินหน้าเผยแพร่การใช้ย าสมุนไพรโดยไม่สนใจคำเตือน
เราต้องรอให้ต่างประเทศจดสิทธิบัตรก่อนหรือ จึงจะยอมรับว่าความรู้และสมุนไพรจากท้องถิ่นสามารถรับมือกับวิ ก ฤ ตนี้ได้
ข้อควรระวัง
ต้นโกฐจุฬาลัมพา มีทั้งพันธุ์ดอกสีขาวและดอกสีแดงมีสรรพคุณทางย าเหมือนกัน สามารถนำมาใช้แทนกันได้ นอกจากนี้ยังมีพันธุ์ดอกสีเหลืองชนิดที่มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Artemisia princeps Pamp ด้วย แต่พันธุ์นี้จะมีพิ ษ ถ้าใช้เกินขนาดก็อาจทำให้เสี ยชี วิ ตได้
การใช้ย า ไม่ควรใช้ต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน ควรใช้ตามคำแนะนำของหมอพื้นบ้าน และแพทย์แผนไทย เพราะอาจส่งผลกระทบต่อ ตั บ ไ ต หญิงตั้งครรภ์ หรือ ไ ข้เลื อดออก
ลิงค์งานวิจัย
https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/33716085/#affiliation-1